getilab.com

โซฟา คิ ต ตี้ พับ ได้

เกณฑ์ การ ประเมิน สมรรถนะ สํา คั ญ ของ ผู้ เรียน - ความ สํา คั ญ ของ การ พัฒนา หลักสูตร

  1. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ครูเชียงราย
  2. บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้

พ. ร. )

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ - ครูเชียงราย

สมรรถนะสำคัญ ของผู้เรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน ครูเชียงราย (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๒) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังนี้ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ๔.

มุ่งมั่นในการทำงาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ตามนโยบายของ คสช. ๑. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม ๓. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ ๔. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม คุณลักษณะ สมรรถนะ

ให้ความสำคัญกั บความเป็นอยู่ของประชาชน โดยนายอาหลี สาแม ประธานกลุ่ม smart farmบอกว่า หลังหว่านเมล็ดถั่วเขียวบนเนื้ อที่ของชาวบ้านกว่า 700 ไร่ ที่ตำบลลูโบะปูโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ในวันที่ วันที่ 27 พฤษภาคม 2559 ที่ผ่านมา พร้อมกับรองเลขาธิการศอ.

โพสต์ 26 พ. ค. 2553 18:14 โดยMr_PK WebMaster สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการ ดังนี้ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ๔.

บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้

ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด ¥ การคิดวิเคราะห์ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน ร่องรอยแสดงความรู้) ผลงานจากกิจกรรมข้อ 4 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับเวลาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ โดยให้ผู้แทนนักเรียนครั้งละ 1 คน ออกมาเล่าประสบการณ์ของตนเอง (เช่น ตื่นนอนเวลา 6. 00 นาฬิกา ออกเดินทางจากบ้าน ไปโรงเรียนเวลา 7 นาฬิกา 30 นาที) 2. จากกิจกรรมข้อ 1 ครูให้ผู้แทนนักเรียน 1 คน ออกมาวาดภาพนาฬิกา โดยใช้เข็มแสดงเวลาดังกล่าว และอ่านเวลาจากนาฬิกาบนกระดาน เช่น เขียน 6. 00 น. อ่านว่า เวลา 6 นาฬิกา ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง และร่วมกันอภิปรายการบอกเวลา จากนาฬิกาแบบเข็ม และนาฬิกาที่บอกเวลาโดยใช้ตัวเลข 3. ครูติดภาพนาฬิกาแบบเข็มบนกระดาน ครูถามคำถามนักเรียน ดังนี้ ¥ ในเวลากลางวัน นาฬิกาเรือนนี้จะบอกเวลาเท่าไร (13 นาฬิกา) ¥ บอกเวลาด้วยภาษาพูดได้ว่าอย่างไร ( บ่ายโมง) ¥ ในเวลากลางคืน นาฬิกาเรือนนี้จะบอกเวลาเท่าไร (1 นาฬิกา) ¥ บอกเวลาด้วยภาษาพูดได้ว่าอย่างไร ( ตีหนึ่ง) ครูดำเนินกิจกรรมนี้อีก โดยติดภาพนาฬิกาบอกเวลาตั้งแต่ 2 นาฬิกา ถึง 24 นาฬิกา โดยให้ผู้แทนนักเรียนออกมาเขียนบอกเวลากลางวัน กลางคืน และภาษาพูดบนกระดาน จากนั้นครูนำนาฬิกาแบบตัวเลขมาให้นักเรียนดูและร่วมกันอภิปรายว่า นาฬิกาที่บอกเวลาเป็นตัวเลข ตัวเลขหน้าเครื่องหมาย: บอกเวลาเป็นนาฬิกา ตัวเลขหลังเครื่องหมาย: บอกเวลาเป็นนาที 4.

นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การบอกเวลา โดยครูถามคำถาม ดังนี้ ¥ นาฬิกาที่บอกเวลาโดยใช้เข็ม เข็มสั้นบอกเวลาเป็นอะไร ( ชั่วโมง) ¥ เข็มยาวบอกเวลาเป็นอะไร ( นาที) ¥ นาฬิกาที่บอกเวลาเป็นตัวเลข ตัวเลขที่อยู่หน้าเครื่องหมาย: บอกเวลาเป็นอะไร ( นาฬิกา) ¥ ตัวเลขที่อยู่หลังเครื่องหมาย: บอกเวลาเป็นอะไร ( นาที) 6. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ¥ นาฬิกาที่บอกเวลาโดยใช้เข็ม เข็มสั้นบอกเวลา เป็นชั่วโมง เข็มยาวบอกเวลาเป็นนาที นาฬิกาที่บอกเวลาโดยใช้ตัวเลข ตัวเลขหน้าเครื่องหมาย: บอกเวลาเป็นนาฬิกา 7. นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูถามคำถามท้าทาย ¥ นักเรียนสามารถบอกเวลาด้วยวิธีอื่นอีกหรือไม่ อย่างไร การจัดบรรยากาศเชิงบวก จัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยให้นักเรียนได้เล่าประสบการณ์ของตนเองและครูเชื่อมโยง เข้าสู่การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคั ­ ญของการเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน สื่อการเรียนรู้ 1. ภาพนาฬิกาแบบเข็ม 2. ภาพนาฬิกาแบบตัวเลข 3. กระดาษเปล่า 4. เกมจับคู่นาฬิกา การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1. วิธีการวัดและประเมินผล 1. 1 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรม 1. 2 สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม 2.

ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความ สามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการ สร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถ ในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

  1. องค์ความรู้ | ศอ.บต. | ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
  2. ความ สํา คั ญ ของ การ พัฒนา หลักสูตร
  3. Samsung Galaxy A52 5G โปรโทรศัพท์ดีแทค dtac best deal ราคามือถือล่าสุด
  4. ลูกเกณฑ์การประเมินโรงสี
  5. ถุง ยาง สต อ เบ อ รี่ 49 sydney
Monday, 02-May-22 00:16:15 UTC